ตอนที่ 1: เริ่มลุย

// MAIN.CPP

#include <stdio.h> //<-------- เลือกใช้แฟ้มข้อมูลที่ต้องการ

#include <conio.h> //<------ เพราะ function ที่จะใช้งานประกาศไว้ที่แฟ้มเหล่านี้

int main ( ) //<---- จุดเริ่มต้นโปรแกรม

{ //<---- เริ่มต้นขอบเขต การทำงาน

int i = 10; //<------ ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

printf( "Value in i = %i\n", i ); //<--- พิมพ์ค่า i

return 0; //<------ จบโปรแกรมให้ค่าจบโปรแกรม 0

} //<---- สิ้นสุดขอบเขต การทำงาน

Value in i = 10
. . . . . . . .นี่คือตัวอย่างโปรแกรมภาษา C ทำหน้าที่ให้ค่าแก่ตัวแปรและ พิมพ์ค่าที่อยู่ในตัวแปรออกมา ใครที่ไม่เคยเขียนโปรแกรมมาก่อน ก็จำรูปแบบนี้ไว้นะครับ ว่าภาษา C เป็นอย่างไร ง่ายๆ ที่สำคัญๆมี

printf( "Value in i = %i\n", i ); //<-- function พิมพ์ผลลัพท์

. . . . . . . .ฟังค์ชั่นนี้ใช้บ่อยมาก วิธีการใช้ก็ง่ายมีรูปแบบการใช้งานที่ค่อนข้างจะเข้าใจ ดูที่เครื่องหมาย % จะมีให้เลือกหลากหลายรูปแบบ รหัสที่เราเห็นท้ายๆ \n เมื่อพิมพ์ค่าออกมาแล้วให้ ขึ้นบรรทัดใหม่ และต่อไปเป็นการใช้ตัวแปรแบบต่างๆ สังเกตได้จากโปรแกรมต่อไปนี้

// MAIN.CPP

#include <stdio.h>

#include <conio.h>

int main ( )

{

int i = 10; //<------ ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

long lvalue = 20; //<------ ประกาศตัวแปร lvalue เป็น long และให้ค่า 20

float fvalue = 30.0; //<------ ประกาศตัวแปร fvalue เป็น float และให้ค่า 30.0

printf( "Value in i = %i\n", i ); //<---- %i พิมพ์ตัวแปรในรูปแบบ Integer

printf( "Value in lvalue = %i\n", lvalue );

printf( "Value in fvalue = %f\n", fvalue ); //<---- %f พิมพ์ตัวแปรในรูปแบบ float

return 0;

}

Value in i = 10

Value in lvalue = 20

Value in fvalue = 30.000000

. . . . . . . .นอกจากนั้นยังมีการพิมพ์ข้อความ ตัวอักษร ถ้าไม่เข้าใจ เลื่อน cursor ไปที่ตำแหน่งนั้นและกด Ctrl+F1 นะครับ จะมี Help ให้ดู ดูตัวอย่างต่อไป
// MAIN.CPP

#include <stdio.h>

#include <conio.h>

int main ( )

{

int i = 10; //<------ ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

long lvalue = 20; //<------ ประกาศตัวแปร lvalue เป็น long และให้ค่า 20

float fvalue = 30.0; //<------ ประกาศตัวแปร fvalue เป็น float และให้ค่า 30.0

char ch = 'A'; //<---- ตัวแปร character ให้ค่าอักษร 'A'

char data[80] = "Sawasdee"; //<---- ตัวแปร array character ให้ค่าข้อความ Sawasdee

printf( "Value in i = %i\n", i );

printf( "Value in lvalue = %i\n", lvalue );

printf( "Value in fvalue = %f\n", fvalue );

printf( "Value in ch = %c\n", ch ); //<--- พิมพ์ค่าใน ch รูปแบบ charecter

printf( "Value in data = %s\n", data ); //<--- พิมพ์ค่าใน data รูปแบบ string

return 0;

}

Value in i = 10

Value in lvalue = 20

Value in fvalue = 30.000000

Value in ch = A

Value in data = Sawasdee

สังเกตให้ดีดีนะครับว่าตัวแปร ch และ data[80] มีการให้ค่าที่แตกต่างกันแบบนี้

char ch = 'A'; //<---- ตัวแปร character ให้ค่าอักษร A

char data[80] = "Sawasdee"; //<---- ตัวแปร array character ให้ค่าข้อความ Hello

และไม่สามารถให้ค่า array charector แบบนี้ได้

char data[80];

data = "Sawasdee"; //<---- ให้ค่าข้อความ Sawasdeeผิด !!

ต้องใช้ function ในการให้ค่าตัวแปร array cahrector ดังตัวอย่างต่อไปนี้

// MAIN.CPP

#include <stdio.h>

#include <conio.h>

#include <string.h> //<----- ต้องการเรียกใช้ function ที่ประกาศไว้ในนี้

int main ( )

{

char data[80]"; //<---- ตัวแปร array charactor

strcpy( data, "Sawasdee" ); //<- function copy ข้อความไปที่ตัวแปร array character

printf( "Value in data = %s\n", data ); //<--- พิมพ์ค่าใน data รูปแบบ string

return 0;

}

Value in data = Sawasdee
. . . . . . . .และยังมี function ให้ใช้งานอีกเยอะเลื่อน cursor ไปที่ข้อความ string.h กด Ctrl+F1 จะเห็นว่ามีให้ใช้มากมาย ลองศึกษาดูละกันครับ ต่อไปการ บวก ลบ คูณ หาร ตัวแปร ก็มีสัญลักษณ์ที่ดูแล้วเข้าใจ ดังตัวอย่าง
// MAIN.CPP

#include <stdio.h>

#include <conio.h>

int main ( )

{

int A = 100; //<------- ตัวแปร Interger ชื่อ A

int B = 20; //<------ ตัวแปร Interger ชื่อ B

int C = A + B; //<----- ตัวแปรชื่อ C ทำการคำนวณ A บวก B คือ C = 100 + 20

int D = A - B; //<----- ตัวแปรชื่อ E ทำการคำนวณ A ลบ B คือ C = 100- 20

int E = A * B; //<----- ตัวแปรชื่อ D ทำการคำนวณ A คูณ B คือ C = 100 * 20

int F = A / B; //<----- ตัวแปรชื่อ F ทำการคำนวณ A หาร B คือ C = 100 / 20

printf( "C = %i\n", C ); //<--- พิมพ์ค่าใน C รูปแบบ Integer

printf( "D = %i\n", D ); //<--- พิมพ์ค่าใน D รูปแบบ Integer

printf( "E = %i\n", E ); //<--- พิมพ์ค่าใน E รูปแบบ Integer

printf( "F = %i\n", F ); //<--- พิมพ์ค่าใน F รูปแบบ Integer

printf( "C D E F= %i %i %i %i\n", C, D, E, F ); //<--- พิมพ์ค่าใน C, D, E, F

return 0;

}

C = 120

D = 80

E = 2000

F = 5

. . . . . . . .ก็ลองบวกลบเลข แทนค่าไปดูละกัน เพราะโปรแกรมเราต้องมีการคำนวณอยู่แล้ว ลองสร้างตัวแปรมาหลายๆ แบบ บวกลบกัน และศึกษาว่ามันใช้งานยังงัย ลองเปลี่ยนจาก int เป็น long, float และก็อย่าลืมใช้ รูปแบบการแสดงผลให้ถูกต้องด้วย ถ้า Interger ต้องใช้ %i ถ้าเป็น long ต้องใช้ %l ถ้าเป็น float ต้องใช้ %f หรือ อยากพิมพ์เลขฐานสิบหกก็ %x มีให้ใช้เยอะแยะมากมาย ใครอยากพิมพ์ข้อความ ก็ใช้ %s อย่าลืม เลื่อน cursor ไปที่ข้อความที่สงสัย กด Ctrl+F1 ลองดูนะครับ

สรุปวันนี้ได้อะไรหว่า ??

int i = 10; //<------ ประกาศตัวแปร i เป็น Interger และให้ค่า 10

long lvalue = 20; //<------ ประกาศตัวแปร lvalue เป็น long และให้ค่า 20

float fvalue = 30.0; //<------ ประกาศตัวแปร fvalue เป็น float และให้ค่า 30.0

char ch = 'A'; //<---- ตัวแปร character ให้ค่าอักษร A

char data[80] = "Sawasdee"; //<---- ตัวแปร array charactor ให้ค่าข้อความ Sawasdee

strcpy( data, "Sawasdee" ); //<- function copy ข้อความไปที่ตัวแปร array character

printf( "Value in data = %s\n", data ); //<--- พิมพ์ค่าใน data รูปแบบ string

printf( "Value in i = %i\n", i ); //<-- function พิมพ์ผลลัพท์

. . . . . . . .จริงๆ วันนี้ว่าจะพาไปไกลกว่านี้อยู่ พอดีติดธุระนานไปหน่อย แหะ แหะ เลยได้นิดเดียว พรุ่งนี้เราจะมาลุยเรื่องตัวแปร local, global และ function กัน วันนี้ดูนี่ไปก่อนละกัน ง่ายๆ ฮ่า ฮ่า ฮ่า เรียนเร็ว จบเร็ว ทำเกมเร็วขึ้น ว้าว !!